Wednesday 21 September 2016

ความตกลงปารีส (High-level Event on the Entry into Force of the Paris Agreement)










กรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (United Nations Framework Convention on Climate Change – UNFCCC) สมัยที่ 21 (COP21)

ความตกลงปารีส (High-level Event on the Entry into Force of the Paris Agreement)

เมื่อวันที่ 21 ก.ย. ที่ผ่านมา เวลา 8.00 น. ตามเวลาท้องถิ่น พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี เข้าร่วมกิจกรรมระดับสูงว่าด้วยการมีผลใช้บังคับของความตกลงปารีส (High-level Event on the Entry into Force of the Paris Agreement) ที่สำนักงานใหญ่สหประชาชาติ นครนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา 

กิจกรรมนี้สืบเนื่องจากประเทศไทยเห็นชอบให้สัตยาบันเข้าร่วมเป็นภาคีความตกลงปารีส ตามกรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (United Nations Framework Convention on Climate Change – UNFCCC) สมัยที่ 21 (COP21) ซึ่งจัดขึ้นเมื่อปี 2558 ณ กรุงปารีส ได้บรรลุความตกลงปารีส (Paris Agreement) ซึ่งเป็นความตกลงด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศฉบับใหม่ โดยประเทศต่าง ๆ ตกลงร่วมกันที่จะมุ่งรักษาการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิเฉลี่ยของโลกให้ต่ำกว่า 2 องศาเซลเซียส และให้มีความพยายามเพิ่มขึ้นเพื่อรักษาการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิให้ต่ำกว่า 1.5 องศาเซลเซียส เพิ่มขีดความสามารถในการปรับตัวและทำให้เกิดเงินทุนหมุนเวียนเพื่อนำไปสู่การพัฒนาที่ก่อให้เกิดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในระดับต่ำและมีภูมิต้านทานต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ 

นายกรัฐมนตรีและผู้นำจากประเทศต่างๆ ที่เข้าร่วมกิจกรรม อาทิ ประธานาธิบดีสาธารณรัฐประชาชนจีน ประธานาธิบดีฮังการี นายกรัฐมนตรีออสเตรเลีย นายกรัฐมนตรีฟิจิ ประธานาธิบดีไนจีเรีย เป็นต้น 

นายกรัฐมนตรีประกาศการเข้าเป็นภาคีความตกลงปารีสของประเทศไทย โดย ระบุว่า ประเทศไทยมีความยินดีที่ได้เข้าร่วมเป็นภาคีความตกลงปารีสในวันที่ 21 กันยายน 2559 การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเป็นปัญหาระดับโลกที่ส่งผลกระทบต่อทุกประเทศ สำหรับประเทศไทยซึ่งเป็นประเทศกำลังพัฒนา ผลกระทบที่เกิดขึ้นยิ่งมีนัยสำคัญและเป็นผลกระทบที่กว้างขวาง ไม่ว่าจะเป็นภาวะโลกร้อน ภัยพิบัติ กระทบต่อการทำกินและรายได้ของเกษตรกร ก่อให้เกิดความยากจน เป็นภัยต่อความมั่นคงทางอาหาร และท้ายที่สุด เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ผลกระทบเหล่านี้ไม่เพียงเป็นภัยต่อโลกปัจจุบัน แต่มีผลถึงลูกหลานของพวกเราในอนาคต 

การเข้าเป็นภาคีความตกลงปารีส เป็นก้าวที่สำคัญยิ่งก้าวหนึ่งของไทย ประเทศไทยเข้าร่วมเพราะตระหนักในความรับผิดชอบร่วมกันของทุกคนที่จะรักษาโลกนี้ไว้ให้กับลูกหลาน จึงต้องร่วมมือกันจำกัดการเพิ่มของอุณหภูมิโลก และเพิ่มขีดความสามารถในการปรับตัว เป็นการส่งสัญญาณถึงเจตนารมณ์อันแน่วแน่ของประเทศไทยในการมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ และมีความต้านทานต่อสภาพภูมิอากาศ นายกรัฐมนตรีแสดงความชื่นชมประเทศต่าง ๆ ทั้งประเทศหมู่เกาะ ประเทศพัฒนาน้อยที่สุดซึ่งได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศมากที่สุด ประเทศพัฒนาแล้ว รวมทั้งจีนและสหรัฐฯ ที่ได้แสดงบทบาทนำในการให้สัตยาบันความตกลงปารีส พวกเราจะผ่านภาวะวิกฤตนี้ไปได้ถ้าเราร่วมมือกัน 

ประเทศไทยให้ความสำคัญกับการดำเนินการที่เป็นรูปธรรม และได้ดำเนินการด้านสภาพภูมิอากาศอย่างจริงจัง ต่อเนื่อง และโปร่งใส โดยได้จัดทำ Roadmap เพื่อให้สามารถลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้ร้อยละ 20 ถึง 25 ภายในปี 2030 ตามที่ได้ประกาศไว้ มุ่งใช้พลังงานทดแทนที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เปลี่ยนขยะเป็นพลังงาน ฟื้นฟูป่าไม้และหยุดยั้งการบุกรุกป่า ลดการขนส่งทางถนนและเปลี่ยนเป็นทางราง เพิ่มการใช้รถยนต์เครื่องยนต์ hybrid ไฟฟ้า และดำเนินการพัฒนาอย่างยั่งยืนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ซึ่งเน้นการพัฒนาทางเศรษฐกิจควบคู่ไปกับการปกป้องธรรมชาติอย่างสมดุล 

นอกจากนี้ ยังให้ความสำคัญกับการสร้างความตระหนักรู้ของประชาชนและภาคส่วนต่าง ๆการหยุดยั้งการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ จำเป็นต้องอาศัยการดำเนินการของทุกประเทศ ไม่ใช่ของประเทศใดประเทศหนึ่งเท่านั้น นายกรัฐมนตรีเรียกร้องให้ทุกประเทศร่วมมือกัน โดยคำนึงถึงศักยภาพของแต่ละประเทศ ตลอดจนความสำคัญของเงินทุน การถ่ายทอดเทคโนโลยี และการเสริมสร้างขีดความสามารถด้วยอนาคตของโลกอยู่ในมือเรา มาร่วมกันรับผิดชอบดูแลโลกใบนี้ เพื่ออนาคตที่ดีและยั่งยืนของอนุชนรุ่นต่อไป
Tags : พล.อ.ประยุทธ์,ร่วมกิจกรรม,ผลใช้บังคับ,ความตกลงปารีส,ไทย,ความสำคัญ,การเปลี่ยนแปลง,สภาพภูมิอากาศ
  
http://www.balanceenergythai.com/%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%8B%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%99-%E0%B8%A5%E0%B8%94%E0%B9%82%E0%B8%A5%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%99/
http://www.bangkokbiznews.com/news/detail/719230


อาเซียนผงาด !! มุ่งมั่นลดโลกร้อนอย่างจริงจัง

อาเซียน ภูมิภาคที่กำลังเติบโต แต่ประชากรร้อยละ 30 ยังไม่มีไฟฟ้าใช้ และแม้ว่าประชากรของอาเซียนจะมีรวมกันมากกว่า 600 ล้านคน หรือร้อยละ 8.1 ของโลก แต่มีสัดส่วนการปล่อยก๊าซเรือนกระจกเพียงร้อยละ 3.5 ของโลก สะท้อนให้เห็นการใช้พลังงานและแนวโน้มความต้องการพลังงานเพื่อรองรับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในอนาคต ให้ทัดเทียมกับภูมิภาคอื่นๆ ของโลก แต่อาเซียนก็มีความพยายามเป็นส่วนหนึ่งในการลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ล่าสุด ในการประชุมรัฐภาคีกรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (United Nations Framework Convention on Climate Change – UNFCCC) สมัยที่ 21 (COP 21) ในวันที่ 30 พฤศจิกายน ถึง 11 ธันวาคม 2558 ณ กรุงปารีส ประเทศสมาชิกอาเซียนได้ร่วมเป็นส่วนหนึ่งในบรรดา 190 ประเทศ ตั้งเป้าหมายลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกอย่างจริงจัง
http://e-lib.dede.go.th/mm-data/Bib15107%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B8%B8%E0%B8%9B%E0%B8%9C%E0%B8%A5%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A8%E0%B8%B6%E0%B8%81%E0%B8%A9%E0%B8%B2.pdf

Sunday 15 May 2016

ศูนย์เรียนรู้ชุมชน Learning and ICT Center for all









Use your learning center for consult and share experience and push them into best income and house hold income..by local business or tourism or other ways...differential..

http://www.cdd.go.th/web/

12 May 16
ด่วน แจ้งข้อมูลทะเบียนศูนย์เรียนรู้ชุมชนที่เป็นปัจจุบัน ประจำปี 2559 ***สามารถดาวน์โหลดข้อมูลได้ที่ แบรนด์เนอร์ เว็บไซด์ กรมการพัฒนาชุมชน ** ข้อมูลรายจังหวัด ศรช.+ศก.พพ.rar












15 May 16
{{พะเยา}}งานประเพณี "แปดเป็ง" หรือ งาน "ไหว้สาพระเจ้าตนหลวง"ประเพณีแปดเป็งวัดพระเจ้าตนหลวง ประจำปี2559 {{คลิปข่าว}} http://bit.ly/1qkV6yl [Announcement]
            
เชิญร่วมบำเพ็ญบุญบารมี ฟังธรรมเทศนา แห่พระอุปคุต ชมมหกรรมโคมไฟล้านนาสีสันศรีโคมคํา งานแปดเป็งประเพณีไหว้สาพระเจ้าตนหลวง ครบรอบ 525 ปี ประจำปี 2559 ระหว่างประเทศ 14 ถึง 20 พฤษภาคม 2559 ณ วัดศรีโคมคำ คำพระอารามหลวง อำเภอเมืองพะเยาจั งหวัดพะเยา...สุดยอดงานวัดหนึ่งเดียวในตำนานเมืองพะเยา…งานประเพณี "แปดเป็ง" หรือ งาน "ไหว้สาพระเจ้าตนหลวง"ประเพณีแปดเป็งวัดพระเจ้าตนหลวง หรือ วัดศรีโคมคำ อ.เมืองพะเยา จ.พะเยา ประจำปี 2559..มีขึ้นในระหว่างวันที่ 14 - 20 พฤษภาคม 2559 มีกิจกรรมทางพระพุทธศาสนา เช่น ขบวนแห/อัญเชิญพระอุปคุต จากท่าเรือวัดติโลกอาราม ถึงลานหน้าพระวิหารหลวงวัดศรีโคมคำ ,การแสดงตีกลองสะบัดชัยถวายเป็นพุทธบูชาแด่พระอุปคุต,การแสดงศิลปวัฒนธรรม,เจริญพระพุทธมนต์,สวดเบิกสมโภชน์,ทำบุญตักบาตร สรงน้ำองค์พระเจ้าตนหลวง,การแสดงพระธรรมเทศนาพื้นเมืองทุก ๆ ปี เดือนพฤษภาคม เดือน 8 ของภาคเหนือ มีประเพณีแปดเพ็ง หมายถึง วันเพ็ญเดือน 8 ขึ้น 15 ค่ำ ตรงกับวันวิสาขบูชา แต่สำเนียงล้านนาออกว่า “แปดเป็ง” อักษร พ เป็น ป จังหวัดพะเยา ได้กำหนดจัดงานประเพณีนมัสการพระเจ้าตนหลวง วัดศรีโคมคำ วันที่ 14-20 พฤษภาคม 2559พระเจ้าตนหลวง สร้าง พ.ศ. 2034 เสร็จ พ.ศ. 2067 ตำนานเล่าถึงวันแปดเป็งที่เกี่ยวข้องกับพระเจ้าตนหลวงตั้งแต่เริ่มสร้างจนกระทั่งเสร็จ จึงมีการจัดประเพณีนมัสการพระเจ้าตนหลวงขึ้น ประเพณีแปดเป็งพระเจ้าตนหลวงเป็นงานประเพณีของ จ.พะเยา ซึ่งจัดว่ายิ่งใหญ่ที่สุดและสำคัญอย่างยิ่งของ จ.พะเยาหรืออาจจะกล่าวๆได้ว่าสำคัญและยิ่งใหญ่ในล้านนาก็ว่าได้ เนื่องจากมีการจัดงานสืบทอดกันมาอย่างยาวนานนับร้อยปี เมื่อถึงเทศกาลประเพณีดังกล่าว ผู้คนจากทั่วสารทิศจะเดินทางมาสู่ จ.พะเยาเพื่อกราบนมัสการขอพรจากองค์พระเจ้าตนหลวง พระศักดิ์สิทธิ์คู่บ้านคู่เมืองล้านนาและสร้างธรรมบารมีให้กับตนเองอย่างไม่ขาดสาย เบียดเสียดกันเพื่อเข้าไปกราบพระเจ้าตนหลวง ทั้งคนใน จ.พะเยา และต่างจังหวัด เช่น ลำปาง เชียงใหม่ เชียงราย ฯลฯ ในอดีตต่างประเทศ เช่น เชียงตุง ประเทศพม่า สินสองปันนา ประเทศจีนตอนใต้ และประชาชนจากหลวงพระบาง ประเทศสาธาณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ก็เดินทางมาเพื่อแสวงบุญกันอย่างล้นลาม แต่ด้วยสถานการณ์ปัจจุบันแต่ละประเทศเข้มงวดกับประชาชนของตนจึงทำให้การเดินทางไม่สะดวกและลดหายไปสำหรับประชาชนจากประเทศเพื่อนบ้านคำว่า “แปดเป็ง” นั้นเป็นภาษาพื้นเมืองของชาวล้านนาโดยแยกออกเป็นสองคำ คือ แปด กับคำว่า เป็ง คำว่า “ แปด ” ก็คือวันเพ็ญเดือน ๘ (เหนือ) ทางภาคกลางถือว่าเป็นเดือน ๖ ซึ่งการนับเดือน คนทางภาคเหนือโดยเฉพาะแถบล้านนาจะนับเดือนไวกว่าคนทางภาคกลางไปสองเดือน ดังนั้นพอถึงเดือน ๖ อันเป็นเดือนที่เสวยฤกษ์วิสาขะ หรือวันวิสาขบูชา (วันเพ็ญเดือน ๖ ) คนทางเหนือจึงถือว่าเป็นเดือน ๘ คำว่า “เป็ง” ก็คือคืนวันเพ็ญ หรือคืนที่พระจันทร์เต็มดวงนั้นเอง ซึ่งมีค่าแทนคำว่า วันเพ็ญขึ้น ๑๕ ค่ำ เมื่อรวมสองคำเข้าด้วยกันว่า “ แปดเป็ง” จึงมีความหมายว่า วันเพ็ญเดือน ๖ (๘ เหนือ) พระจันทร์เต็มดวงเสวยฤกษ์วิสาขะ ขึ้น ๑๕ ค่ำ นั่นเองโดยแต่ละปี ทางวัดศรีโคมคำ จะกำหนดจัดงานแปดเป็งในช่วงสัปดาห์วันวิสาขบูชา กิจกรรมสำคัญคือวันวิสาขบูชา ที่ผู้คนจากทั่วสารทิศจะแห่กันมากราบไหว้าพระเจ้าตนหลวงอย่างไม่ขาดสายเพื่อขอพรและความเป็นสิริมงคล ในปี 2559 ประเพณีแปดเป็งมีขึ้นระหว่างวันที่ 14-20 พฤษภาคม 2559จึงขอเชิญพุทธศาสนิกชนได้ร่วมประเพณีดังกล่าว.. {{คลิข่าว}} 


14 May 16 <นครสวรรค์บ้านเรา>>ประชุมคณะทำงานดำเนินงานโครงการเพิ่มความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานรากตามแนวทางประชารัฐจังหวัดนครสวรรค์ [Announcement]
            
เมื่อเวลา 09.00 น.ของวันที่ 13 พฤษภาคม 2559 นางยุพา ศรีแก้วหล่อ พัฒนาการจังหวัดนครสวรรค์และนางศุภลักษณ์ แก้วมณี หัวหน้ากลุ่มงานยุทธศาสตร์ฯ สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดนครสวรรค์ เข้าร่วมประชุมคณะทำงานดำเนินงานโครงการเพิ่มความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานรากตามแนวทางประชารัฐจังหวัดนครสวรรค์ ( คปจ . นครสวรรค์) พร้อมด้วยตัวแทน คสช.ระดับจังหวัด ประธานหอการค้า ประธานสภาอุตสาหกรรม ตัวแทนขบวนองค์กรชุมชนระดับจังหวัด ปลัดจังหวัด คลังจังหวัด ท้องถิ่นจังหวัด ฯลฯ เพื่อร่วมพิจารณาตรวจทานความพร้อมโครงการเพิ่มความเข้มแข็งเศรษฐกิจฐานรากด้วยประชารัฐ จาก โครงการของ 15 อำเภอในจังหวัดนครสวรรค์ โดยมีท่านรองผวจ นายอภิสรรค์ สง่าศรี เป็นประธาน ทั้งนี้เพื่อพิจารณาโครงการต่างๆที่แต่ละอำเภอเสนอ เพื่อให้เป็นไปตามแนวทางที่รัฐบาลกำหนด และนางยุพา ศรีแก้วหล่อ พัฒนาการจังหวัดนครสวรรค์ได้เปิดผลการประชุมว่า ได้สอบทานความพร้อมจำนวน 741 กองทุนและผ่านการพิจารณาแล้ว 732 กองทุน ทั้งนี้สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดได้เป็นผู้เอื้ออำนวยความสะดวกในการจัดประชุม /////ข่าวโดยกลุ่มงานสารสนเทศฯพัฒนาชุมชนจังหวัดนครสวรรค์ 

Sunday 3 April 2016

Research and Budget for development fund or company?or sponsor support from tax? or fundraising for charity?

Research and Budget for development fund or company?or sponsor support from tax? or fundraising for charity?

Why do people raise money for charity? We asked our fundraisers to write in their answers and the results are in! Here are the top five reasons that drive people to fundraise:

1. They want to support a particular charity

The number one reason for online fundraising is to support a particular charity close to the fundraiser’s heart: they know who they want to raise money for and they are motivated to do it.

2. They are inspired by a person or people

In memory fundraisingWhether it be a parent, child, friend, colleague or family member, a personal connection drives people to fundraise. Fundraising in memory is a big part of this motivating factor as well – people fundraise to honour someone they loved.

3. To support a cause

People care deeply about their personal passions and look for charities that support their causes. It’s not just about the charity itself – the underlying cause is what really drives people.

4. To feel good

Helping others, making a difference, and getting fit motivates fundraisers too.

5. To take part in an event

Events fundraisingRunning a marathon, skydiving for the first time, or cycling the Alps is a great personal challenge. And if fundraisers can raise money for charity while they’re at it, even better.
There are lots of other motivations behind fundraising as well, including wanting to support local concerns, being part of a corporate group and for religious reasons.

So what does this mean for your organisation?

Firstly, remember that your supporters make great fundraisers. Encourage your committed donors to take on a fundraising challenge or event and ask them to get the message out there, such as why your charity means so much to them.
Also, think about your fundraising messaging. Remember, people don’t only fundraise because they want to participate in the event: highlight your cause and how good fundraising feels.
Have you got any inspiring fundraising stories to share? What motivates your supporters to raise money for your cause? Share your story below.  


http://blog.justgiving.com/what-motivates-people-to-fundraise/








https://medium.com/governor-rick-snyders-fy-2016-budget/higher-education-3009fb1fd108#.iz2f37mpp
The budgets adopted on March 19 by the House Budget Committee and the Senate Budget Committee each cut more than $3 trillion over ten years (2016-2025) from programs that serve people of limited means.  These deep reductions amount to 69 percent of the cuts to non-defense spending in both the House and Senate plans.
Each budget plan derives more than two-thirds of its non-defense budget cuts from programs for people with low or modest incomes even though these programs constitute less than one-quarter of federal program costs.  Moreover, spending on these programs is already scheduled to decline as a share of the economy between now and 2025.[1]
The bipartisan deficit reduction plan that Alan Simpson and Erskine Bowles (co-chairs of the National Commission on Federal Policy) issued in 2010 adhered to the basic principle that deficit reduction should not increase poverty or widen inequality.  The new Congressional plans chart a radically different course, imposing their most severe cuts on people on the lower rungs of the economic ladder.
http://www.cbpp.org/research/federal-budget/congressional-budget-plans-get-two-thirds-of-cuts-from-programs-for-people
Disappointed with the lack of quality scientific research and products by Indonesian scientists, the government has set up a trust fund to generate and distribute funding for scientific research. 

The scheme is the first of its kind in the country.

The trust fund, called the Indonesia Science Fund (DIPI), was established based on a 2012 report titled '€œCreating an Indonesian Science Fund'€ published by the Indonesian Academy of Sciences (AIPI), which explained in detail the funding problems plaguing the country'€™s scientific research.

Despite its high literacy rate of 95.6 percent and numerous quality universities and research institutions, Indonesia ranked 57th in the number of papers published in peer-reviewed journals between 1996 and 2014. The majority of Indonesian scientists shared their research credits with foreign scientists, with 74 percent of the country'€™s scientific projects coming in the form of international collaborations. 

http://www.thejakartapost.com/news/2016/03/31/govt-sets-national-trust-fund-research.html


TO support the Research, Innovation and Enterprise (RIE) 2020 effort, the government will provide a top-up of S$1.5 billion to the National Research Fund this year, said Finance Minister Heng Swee Keat in Parliament on Thursday.
Of the commitment announced for the RIE 2020 plan, up to S$4 billion will be directed to industry-research collaboration.
"This represents a concerted shift towards innovation and enterprise, to capture the economic and social value of R&D," said Mr Heng.


http://www.businesstimes.com.sg/government-economy/singapore-budget-2016/budget-2016-national-research-fund-to-get-s15b-top-up

Wednesday 23 March 2016

ยังรอไปเรื่อยๆMega trend Train....and training....

ฝึกฝนการรอคอยต่อไป No complain..no protest..no right for claim cost of losses and waste opportunities?












(CNN)The world's most nimble spokeskitty has struck again.
This time in Taiwan.
That's where a high-speed train painted in the colors of Hello Kitty made its maiden round trip Monday between the cities of Taipei and Taitung.



http://edition.cnn.com/2016/03/23/travel/taiwan-hello-kitty-train/index.html?sr=fbcnni032416taiwan-hello-kitty-train0312AMStoryGalLink&linkId=22634089
https://www.facebook.com/hashtag/highspeedrail?source=feed_text&story_id=1752252361662463
https://www.facebook.com/BBCThai/?fref=nf
นายกรัฐมนตรีเผยไทยจะลงทุนก่อสร้างรถไฟความเร็วสูงเองทั้งหมด แต่จ้างจีนเป็นผู้สร้าง
พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี หารือทวิภาคีกับนายหลี่ เค่อเฉียงนายกรัฐมนตรีจีน ได้ข้อสรุปโครงการรถไฟความเร็วสูง โดยไทยจะลงทุนเองทั้งหมดและจ้างจีนมาเป็นผู้ก่อสร้าง ในเส้นทางกรุงเทพ-นครราชสีมา 250 กิโลเมตร ซึ่งจะเริ่ม ต้นในเดือนกรกฎาคมนี้ นายกรัฐมนตรีเผยต้องการสร้างประวัติศาสตร์เป็นผู้ให้กำเนิดโครงการรถไฟความเร็วสูงของไทย
สำนักข่าวไทยรายงานว่าในระหว่างการประชุมผู้นำกรอบความร่วมมือแม่โขง-ล้านช้าง ครั้งที่ 1 และการประชุมโป๋วอ่าว ฟอรั่ม ฟอร์เอเชีย ที่เมืองซานย่า มณฑลไห่หนานนั้น พล.อ.ประยุทธ์ ได้หารือทวิภาคีกับนายหลี่ ในหลายประเด็นรวมทั้งโครงการก่อสร้างรถไฟความเร็วสูง ซึ่งได้ข้อยุติในหลักการแล้วว่าไทยจะลงทุนดำเนินการเองทุกขั้นตอน แต่จะจ้างจีนให้เป็นผู้ก่อสร้างโดยไม่มีการให้สัมปทานหรือร่วมทุนใด ๆ ร่วมกับจีน
พล.อ.ประยุทธ์ กล่าวว่า ไทยได้พิจารณาแล้วว่ามีศักยภาพที่สามารถสร้างรถไฟความเร็วสูงในระยะทาง 250 กิโลเมตรจากกรุงเทพฯ-นครราชสีมาได้เอง และไม่ต้องการนำเรื่องของความเร็วไปเปรียบเทียบกับประเทศใด หรือไม่ได้คิดว่าการสร้างรถไฟดังกล่าวจะต้องไปเชื่อมโยงกับประเทศใดบ้าง แต่ต้องการให้รถไฟความเร็วสูงบริการประชาชนให้สามารถเดินทางได้สะดวกรวดเร็วยิ่งขึ้น
สำนักข่าวไทยรายงานด้วยว่า พล.อ.ประยุทธ์ ระบุว่าเป็นความตั้งใจของตนที่ต้องการสร้างประวัติศาสตร์การกำเนิดของรถไฟความเร็วสูงให้แก่ประเทศไทย โดยเริ่มต้นจากเส้นทางสายอีสานก่อนที่ในอนาคตจะขยายเส้นทางไปยังพื้นที่ต่าง ๆ ภายในประเทศ ทั้งเหนือและใต้ โดยยืนยันว่าไม่มีผลประโยชน์ใด ๆ และขอไม่ให้นำประเด็นเรื่องราคามาสร้างความขัดแย้งไม่เช่นนั้นจะเดินหน้าไม่ได้ ‪#‎Highspeedrail‬

Saturday 20 February 2016

How to make wonderful food ad dessert?


How to make wonderful food ad dessert?


http://clementinecojp.tumblr.com/page/2









https://www.facebook.com/patisserie.masatomi/

http://isan613.pixnet.net/blog/post/56990406-%E3%80%90%E6%9B%BC%E8%B0%B7%E8%B3%87%E6%96%99%E5%BA%AB%E3%80%91siam-paragon-3f---4f-paragon-passage%E9%A4%90

http://www.bkkmenu.com/news/what-to-eat-at-the-new-emporium